คนสัปเยก
คนสัปเยก
“คนสัปเยก” มีชื่อตามภาษาอังกฤษวา Subject หมายถึง คนในบังคับ เปนคําเรียกกลุม คนที่ไดรับสิทธิพิเศษ เนื่องมาจากการทําหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีระหวางกรุงสยามกับ ตางประเทศ ระหวาง พ.ศ. 2398 – 2481 คําวา สัปเยกนี้เดิมหมายถึง พลเมืองของประเทศที่ทํา สัญญากับกรุงสยาม ตอมาเมื่อประเทศมหาอํานาจตะวันตกไดแผอิทธิพลเขามาครอบครอง ดินแดนบางสวนในแถบทวีปเอเชีย คําวา คนสัปเยก หรือคนในบังคับก็ไดกินความไปถึงคนใน อาณานิคมและรัฐอารักขาของชาตินั้น ๆ เหตุเพราะชาวเอเชียชาติตาง ๆ เชน จีน ญวน แขก มอญ ที่ไมไดเปนอาณานิคมหรืออยูภายใตอารักขาของชาติใด แตไดเขามาประกอบอาชีพตั้ง บานเรือนอยูในกรุงสยามและเกิดหวังผลประโยชยจากการไดรับสิทธิพิเศษตามสัญญาทางพระ ราชไมตรีที่กรุงสยามไดทํากับตางประเทศแถบยุโรป จึงไดสมัครเปนคนในบังคับของประเทศ มหาอํานาจในแถบยุโรป เชน อังกฤษ ฝรั่งเศส ฮอลันดาฯ มากขึ้น เปนการทําใหอํานาจและ อิทธิพลของชาวตางชาติในกรุงสยามเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีผลกระทบตอการปกครองและความมั่นคง ของสยามประเทศอยางยิ่ง รัฐบาลของพระเจากรุงสยามตองเผชิญกับความยากลําบากในการ ยกเลิกสิทธิพิเศษของคนในบังคับตางชาติอยางมาก ทั้งทางดานการปกครอง การคาและการ ศาล ปญหาคดีความ ปญหาดานกฎหมายระหวางประเทศ เมื่อคนในบังคับตางชาติกระทํา ความผิดก็ไมยอมมาขึ้นศาลไทย ไปขึ้นศาลกงสุล กฎหมายไทยไมสามารถควบคุมคนเหลานี้ได ทําใหเสียสิทธิทางการศาล กรุงสยามในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวฯ จึงตอง มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบทางดานการศาลและปรับปรุงกฎหมายไทยใหเปนที่ยอมรับ พัฒนาบานเมืองใหมีความทันสมัยทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ เพื่อใหไดสิทธิบางประการ กลับคืนมา โดยไดจางนักกฎหมายและที่ปรึกษาชาวตางประเทศหลายคนมาเปนที่ปรึกษา ทางดานกฎหมายและการตางประเทศ รวมทั้งการสงเสริมสนับสนุนใหพระราชโอรสและพระ บรมวงศานุวงศระดับสูงเสด็จไปทรงศึกษา ณ ตางประเทศ เพื่อนําความรูในดานตาง ๆ มา พัฒนาประเทศและหาวิธีดําเนินการแกไขสัญญาทางพระราชไมตรีระหวางกรุงสยามกับประเทศ ตาง ๆ ตลอดมา หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 สหรัฐอเมริกาเปนประเทศแรกที่ยอมแกไขสนธิสัญญา กับไทยใน พ.ศ. 2464 โดยคนในบังคับอเมริกันตองขึ้นศาลไทยเมื่อเกิดคดีความ
พระยากัลยาณไมตรี
(Dr. Francis B. Sayre)
ตอมาภายหลังพระยากัลยาณไมตรี (Dr. Francis B. Sayre) ที่ปรึกษากระทรวงการ ตางประเทศไดชวยเจรจาใหประเทศตาง ๆ ยอมแกไข สัญญาทางพระราชไมตรีกับประเทศไทยและคืนสิทธิ สภาพนอกอาณาเขตใหแกไทยในปพ.ศ. 2481 ตาม สนธิสัญญาทางไมตรีพาณิชยและการเดินเรือกับ ประเทศโปรตุเกสและในบทเพิ่มเติมสนธิสญญาที่ทํา กับประเทศฝรั่งเศสวาดวยความตกลงเกี่ยวกับการ พาณิชยและศุลกากรระหวางไทยกับอินโดจีนของ ฝรั่งเศส ซึ่งเปนผลทําใหประเทศไทยสามารถขจัด ปญหาเกี่ยวกับคนในบังคับตางชาติไดหมด มีอธิปไตย ทางการศาลไดอยางสมบูรณเตราบเทาทุกวันนี้
ขอมูลอางอิง
กรมศิลปากร. อักขรานุกรมประวัติศาสตรไทย อักษร ค. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2545.