การใช้ชื่อวันเดือนปีที่นิยมใช้ในกฎหมายเก่า
การใชชื่อวันเดือนปที่นิยมใชในกฎหมายเกา
ในสมัยโบราณการนับวันเดือนปถือการโคจรของดวงจันทรเปนหลัก เรียกวา จันทรคติ ปจันทรคติปกติมี 354 วัน ปมีอธิกวารมี 355 วัน ถาเปนปอธิกมาศ (เดือนแปดสองหน) จะมี 384 วัน เพื่อชดเชยวันที่ขาดหายไป ตอมาจึงมีวิธีนับวันเดือนปตามการหมุนเวียนของโลก รอบดวงอาทิตยเรียกวา สุริยคติ ระยะเวลาที่โลกหมุนรอบดวงอาทิตยรอบหนึ่งปกติประมาณ 365 วัน 5 ชั่วโมง 49 นาทีปสุริยคติกับจันทรคติจึงผิดกันอยูปละประมาณ 10 – 11 วันเศษ
ในปพ.ศ.2432 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงประกาศใชปฏิทินแบบ ใหมตามสุริยคติ โดยกําหนดขึ้นปใหมในเดือนเมษายน (เดือน 4 ทางสุริยคติแตเปนเดือน 5 ทางจันทรคติ) ใชมาจนถึง พ.ศ. 2483 ในหนึ่งปจะมี 12 เดือน
ตามจันทรคติกําหนดนับตามระยะเวลาการโคจรของดวงจันทรรอบโลก 12 ครั้ง มีการแบงเปน 12 เดือน กลาวคือ พระจันทรโคจรรอบโลกครั้งหนึ่งใชเวลา 29 วันครึ่ง ในเวลาหนึ่งเดือน ถานับเปน 29 วัน เวลาจะขาดไป 12 ชั่วโมง แตถานับ 30 วัน เวลา จะเกินไป 12 ชั่วโมง จึงตองนับ 59 วัน เปนสองเดือน คือ ใหนับเดือนคี่มี 29 วัน และเดือนคูมี 30 วัน (เดือนคี่บางที่เรียกวาเดือนขาด ไดแก เดือน 1, 3, 5, 7, 9, 11 สวนเดือน คูหรือเดือนเต็ม ไดแกเดือน 2, 4, 6, 8, 10, 12) ดังนั้น เดือนคี่จึงเปนเดือนตน เดือนคูเปน เดือนรองสลับกันจนครบ 12 เดือน แลวเริ่มตนนับใหม วันตามจันทรคติจึงมีเพียง 354 วัน ซึ่งมีการเพิ่มวัน เรียกวา อธิกวาร
เดือนทางจันทรคติมีสองชวงหรือ 2 ปกษ (ปกษละ 15 วัน) คือ ขางขึ้นและขางแรม ขางขึ้น เรียกวา ชุณหปกษเดือนหนึ่งมี 15 วัน ใชตัวยอวา ข. ขางขึ้น
ขางแรม เรียกวา กาฬปกษใชตัวยอวา ร. ขางแรม ถาเปนเดือนคูจะมี 15 วัน (แรม 1 ค่ํา ถึงแรม 15 ค่ํา) แตถาเปนเดือนคี่จะมีเพียง 14 วัน (แรม 1 ค่ํา ถึงแรม 14 ค่ํา) ดวยเหตุนี้ เดือนคี่จึงมักเรียกวา เดือนขาด เปนการบอกใหรูวาขางแรมมีเพียง 14 วัน นอกจากเดือน 7 เปนอธิกวารจึงมีแรม 15 ค่ํา
การใชชื่อวันที่นิยมใชในกฎหมายเกา
วันอาทิตย อาทิตยวาร อักษรยอ อ
วันจันทร จันทรวาร อักษรยอ จ
วันอังคาร ภุมวาร อักษรยอ ภ
วันพุธ วุฒิวาร อักษรยอ ว
วันพฤหัสบดี ชีวะวาร อักษรยอ ช
วันศุกร ศุกรวาร อักษรยอ ศ
วันเสาร โสรวาร อักษรยอ ส
การใชชื่อเดือนที่นิยมใชในกฎหมายเกา
มกราคม มิคสิระมาส เดือนอาย กุมภาพันธ บุษยมาส เดือนยี่ มีนาคม มาฆมาส เดือน 3 เมษายน ผคุณมาส เดือน 4 พฤษภาคม จิตรมาส เดือน 5 มิถุนายน วิสาขมาส เดือน 6 กรกฎาคม เชฐมาส เดือน 2 สิงหาคม อาษาฒมาส เดือน 8 กันยายน สาวนมาส เดือน 9 ตุลาคม ภัทรบทมาส เดือน 10
พฤศจิกายน อัสยุชมาส เดือน 11 ธันวาคม กตกมาส ิ เดือน 12
การใชชื่อปที่นิยม
ชวด
ฉลู
ขาล
เถาะ
มะโรง
มะเส็ง
มะเมีย
มะแม
วอก
ระกา
จอ
กุน